โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคต่อมไทรอยด์เสื่อมและโรคคอพอก
เพื่อนๆรู้หรือไม่ว่า โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคต่อมไทรอยด์เสื่อมและโรคคอพอก มันต่างกันอย่างไร และมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง แล้วผู้ที่เป็นโรคไทรอยด์มีอาการเป็นอย่างไรหรอ? ก่อนอื่นเราลองมาทำความรู้จักกับต่อมไทรอยด์กันก่อนนะครับ
ต่อมไทรอยด์ เป็นหนึ่งในต่อมไร้ท่อ (Endocrine Gland) และถือว่าเป็นอวัยวะอย่างหนึ่งในร่างกายเรา มีลักษณะคล้ายๆกับผีเสื้ออยู่ตรงบริเวณคอใต้ลูกกระเดือก ต่อมไทรอยด์มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ เพื่อควบคุมการเผาผลาญพลังงานของร่างกายโดยฮอร์โมนสำคัญที่ผลิตขึ้นมามี 2 ชนิดคือ ไทรอกซีน T4 (Thyroxine) และไดรไดโอโดไรโรนีน T3 (Treiiodothyronine) โดยฮอร์โมนทั้งสองชนิดนนี้มีหน้าที่ในการส่งสาร โดยจะสั่งการให้เซลล์ในร่างกายรับรู้ว่าเมื่อไหร่ควรที่จะนำเอาออกซิเจนหรือสารอาหารนำไปใช้งานเพื่อระบบเผาผลาญในร่างกายนั้นจะได้ทำงานได้อย่างสมดุลกัน และนอกจากนี้ฮอร์โมนทั้งสองชนิดยังช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้มีความเหมาะสมอีกด้วย นับว่าเป็นฮอร์โมนที่สำคัญมากๆ เพราะอวัยวะต่างๆในร่างกายขแงเราต้องใช้ฮอร์โมนไทรอยด์ทั้งสิ้น
ต่อมไทรอยด์จะทำงานภายใต้การควบคุมกำกับจากต่อมพิทูอิทารี (Pituitary gland) หรือต่อมใต้สมอง ซึ่งเป็นต่อมที่อยู่ใต้สมอง โดยจะมีหน้าที่ในการจัดระดับฮอร์โมนในกระแสเลือดว่าต่ำหรือสูงแล้วจะส่งผลไปยังต่อมไทรอยด์เพื่อกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้ทำงานตามหน้าที่ของมัน แต่ถ้าหากเกิดความผิดปกติของฮอร์โมนที่ไม่สมดุล***เกิดขึ้นก็จะส่งผลทำให้เกิดเป็นโรคไทรอยด์ได้และสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคไทรอยด์นั้นมีอยู่ 2 สาเหตุคือ 1.ต่อมไทรอยด์ทำงานมากไป
ต่อมไทรอยด์ เป็นหนึ่งในต่อมไร้ท่อ (Endocrine Gland) และถือว่าเป็นอวัยวะอย่างหนึ่งในร่างกายเรา มีลักษณะคล้ายๆกับผีเสื้ออยู่ตรงบริเวณคอใต้ลูกกระเดือก ต่อมไทรอยด์มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ เพื่อควบคุมการเผาผลาญพลังงานของร่างกายโดยฮอร์โมนสำคัญที่ผลิตขึ้นมามี 2 ชนิดคือ ไทรอกซีน T4 (Thyroxine) และไดรไดโอโดไรโรนีน T3 (Treiiodothyronine) โดยฮอร์โมนทั้งสองชนิดนนี้มีหน้าที่ในการส่งสาร โดยจะสั่งการให้เซลล์ในร่างกายรับรู้ว่าเมื่อไหร่ควรที่จะนำเอาออกซิเจนหรือสารอาหารนำไปใช้งานเพื่อระบบเผาผลาญในร่างกายนั้นจะได้ทำงานได้อย่างสมดุลกัน และนอกจากนี้ฮอร์โมนทั้งสองชนิดยังช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้มีความเหมาะสมอีกด้วย นับว่าเป็นฮอร์โมนที่สำคัญมากๆ เพราะอวัยวะต่างๆในร่างกายขแงเราต้องใช้ฮอร์โมนไทรอยด์ทั้งสิ้น
ต่อมไทรอยด์จะทำงานภายใต้การควบคุมกำกับจากต่อมพิทูอิทารี (Pituitary gland) หรือต่อมใต้สมอง ซึ่งเป็นต่อมที่อยู่ใต้สมอง โดยจะมีหน้าที่ในการจัดระดับฮอร์โมนในกระแสเลือดว่าต่ำหรือสูงแล้วจะส่งผลไปยังต่อมไทรอยด์เพื่อกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้ทำงานตามหน้าที่ของมัน แต่ถ้าหากเกิดความผิดปกติของฮอร์โมนที่ไม่สมดุล***เกิดขึ้นก็จะส่งผลทำให้เกิดเป็นโรคไทรอยด์ได้และสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคไทรอยด์นั้นมีอยู่ 2 สาเหตุคือ 1.ต่อมไทรอยด์ทำงานมากไป
2.ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยไป
แต่โรคที่เกี่ยวกับต่อมไทรอยด์นั้นมีอยู่ 3 โรคดังต่อไปนี้
1. โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroidism) ซึ่งโรคไทรอยด์ชนิดแรกนี้เกิดจากต่อมไทรอยด์การทำงานหนักมากไปเกินไป ต่อมไทรอยด์ก็จะผลิตฮอร์โมนออกมามากเกินไปจนทำให้ระดับฮอร์โมนในเลือดสูงกว่าปกติ และทำให้อัตราในการเผาผลาญพลังงานในร่างกายนั้นสูงกว่าปกติ จึงทำให้เกิดการหิวอยู่ตลอดเวลา อาการที่พบได้ก็คือ เหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก ใจสั่น นอนหลับยาก ทานเยอะแต่ผอมลง ลำคอพอกโต ตาโปนผิดปรกติ และมีอารมณ์หงุดหงิดง่าย บางคนเล็บจะงอนเชิดขึ้นเปราะแยกออกจากเนื้อ หากมีอาการเหล่านี้ก็ควรพบแพทย์
1. โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroidism) ซึ่งโรคไทรอยด์ชนิดแรกนี้เกิดจากต่อมไทรอยด์การทำงานหนักมากไปเกินไป ต่อมไทรอยด์ก็จะผลิตฮอร์โมนออกมามากเกินไปจนทำให้ระดับฮอร์โมนในเลือดสูงกว่าปกติ และทำให้อัตราในการเผาผลาญพลังงานในร่างกายนั้นสูงกว่าปกติ จึงทำให้เกิดการหิวอยู่ตลอดเวลา อาการที่พบได้ก็คือ เหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก ใจสั่น นอนหลับยาก ทานเยอะแต่ผอมลง ลำคอพอกโต ตาโปนผิดปรกติ และมีอารมณ์หงุดหงิดง่าย บางคนเล็บจะงอนเชิดขึ้นเปราะแยกออกจากเนื้อ หากมีอาการเหล่านี้ก็ควรพบแพทย์
2. โรคต่อมไทรอยด์เสื่อม (Hypothyroidism) สาเหตุเกิดจากต่อมไทรอยด์นั้นทำงานน้อยเกินไป ซึ่งก็จะทำให้ต่อมไทรอยด์นั้นผลิตฮอร์โมนออกมาน้อย ทำให้เซลล์เจริญเติบโตน้อย และทำให้อัตราในการเผลาผลาญนั้นต่ำ อาการที่พบจะมีลักษณะที่น้ำหนักเพิ่มขึ้นง่าย อ้วน บวม ขี้หนาว ปวดข้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง เฉื่อยชา เซื่องซึม ผิวหยาบและแห้ง
3. โรคคอพอก (Goiter) เกิดจากร่างกายขาดธาตุไอโอดีน ซึ่งต่อมไทรอยด์ต้องใช้ธาตุไอโอดีนในการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ แต่พอไม่มีธาตุไอโอดีนระดับฮอร์โมนไทรอยด์ก็จะมีการผลิตได้น้อยหรือไม่ได้เลย ต่อมไทรอยด์จึงพยายามทำงานหนักขึ้นจนมันบวมขึ้น ถ้าเป็นที่คอโคนก็จะโปนโต ถ้าเป็นที่ตาก็จะตาโปนออกมา
โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ การรักษาจะมีอยู่ 3 วิธีคือ 1.การรับประทานยา ซึ่งต้องทานยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ปีและมีโอกาสจะกลับมาเป็นใหม่ได้สูงถึง 40% 2.การรักษาวิธีที่สองคือการผ่าตัดเอาต่อมไทรอยด์ออกบางส่วน และ
3.ก็การดื่มน้ำแร่ไอโอดีนซึ่งเป็นน้ำแร่เฉพาะที่ผลิตโดยกรมพลังงานแห่งชาติ
การตรวจสอบเบื้องต้น การสังเกตุว่าเป็นโรคไทรอยด์ก็ลองสังเกตุอาการดังที่กล่าวมา แล้วก็ลองใช้มือลองคลำๆดูว่าต่อมไทรอยด์มีการบวมโตจนโปนออกมาหรือเปล่า หรือดูการกลอกตาโดยให้เพื่อนเคลื่อนสิ่งของไปมา เลื่อนขึ้นเลื่อนลง ในคนปรกติเวลาเหลือบตาลงต่ำเปลือกตาจะปิดลูกตาดำ แต่ในคนที่กลอกตาลงแล้วเปลือกตาบนไม่ปิดตาดำและเห็นเป็นช่องว่างของลูกตาขาวๆก็ถือว่าผิดปรกติ รวมถึงมีอาการที่กล่าวมานั้นควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจให้ละเอียดอีกครั้ง จะได้รักษากันแต่เนิ่นๆ
การตรวจสอบเบื้องต้น การสังเกตุว่าเป็นโรคไทรอยด์ก็ลองสังเกตุอาการดังที่กล่าวมา แล้วก็ลองใช้มือลองคลำๆดูว่าต่อมไทรอยด์มีการบวมโตจนโปนออกมาหรือเปล่า หรือดูการกลอกตาโดยให้เพื่อนเคลื่อนสิ่งของไปมา เลื่อนขึ้นเลื่อนลง ในคนปรกติเวลาเหลือบตาลงต่ำเปลือกตาจะปิดลูกตาดำ แต่ในคนที่กลอกตาลงแล้วเปลือกตาบนไม่ปิดตาดำและเห็นเป็นช่องว่างของลูกตาขาวๆก็ถือว่าผิดปรกติ รวมถึงมีอาการที่กล่าวมานั้นควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจให้ละเอียดอีกครั้ง จะได้รักษากันแต่เนิ่นๆ
สรุปว่าไทรอยด์ของเราก็เหมือนน้ำมันเครื่องนั้นแหละครับทำงานมากไปก็ไม่ดี ทำงายน้อยไปก็ไม่ดีเช่นกันต้องให้สมดุลกันถึงจะดี สาเหตุของการทำงานผิดปรกติของต่อมไทรอยด์ก็ยังไม่เป็นที่แน่ชัด สาเหตุส่วนหนึ่งก็มาจากกรรมพันธุ์, ความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากความเป็นกรด~ด่างในร่างกายเสียสมดุล โรคไทรอยด์นี้สามารถพบได้ในผู้หญิงได้มากกว่าผู้ชาย 4-6 เท่าเลยทีเดียว
ไม่มียาตัวไหนดีและดีที่สุดแต่สิ่งที่ดีสุดคือ รีบไปปรึกษาแพทย์ ทานอาหารให้สมดุล ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่ ไม่เครียด เพราะจทำให้ร่างกายเสียความสมดุล
เรื่องความสมดุล เพื่อนๆเคยอ่านหนังสือ คำภีร์หลินจือไหม โดย เภสัชกร นิติ โตชนันท์ กล่าวว่า: “หลินจือจือมีสารสำคัญที่ช่วยทำให้การทำงานของต่อมไร้ท่อต่างๆของร่างกายสมดุลได้ นั้นคือ ต่อมไร้ท่อทำงานมากเกินไป สารจากหลินจือจะไปลดการทำงานให้กลับสู่ภาวะปกติ แต่หากต่อมไร้ท่อทำงานน้อยเกินไป เห็ดหลินจือ กลับไปกระตุ้นให้ต่อมเหล่านั้นทำงานได้ดังธรรมชาติที่ร่างกายกำหนดมา”
ต้องขอขอบคุณที่เพื่อนๆอ่านจนจบนะครับ
แล้วมาเจอกันใหม่กับสาระดีๆโอกาสหน้า สวัสดีครับ
😉😉😉
Cr.DD.สมาน เลาะ
นักธุรกิจแด๊กซิน ผู้บริหารการขายระดับเพชร
(ตัวแทนจำหน่ายแดซิน)
www.samanloh.com
😉😉😉
Cr.DD.สมาน เลาะ
นักธุรกิจแด๊กซิน ผู้บริหารการขายระดับเพชร
(ตัวแทนจำหน่ายแดซิน)
www.samanloh.com
ความคิดเห็น